วันอาทิตย์ที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2555

สรุป VDO โทรทัศน์ครู เรื่อง ความแข็งของวัสดุ


        จากการได้รับชมจะเห็นว่าการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูส่งเสริมให้เด็กสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยให้เด็กมีส่วนร่วมการเรียนการสอนมากที่สุด การสอนเน้นความสำคัญและสิ่งที่อยู่รอบๆตัวเด็กเลือกกิจกรรมที่พบเห็นในชีวิตประจำวันเชื่อมโยงได้ง่าย เป็นการสอนวิทยาศาสตร์ที่ฝึกให้เด็กแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยครูผู้สอนจัดเตรียมกิจกรรมให้เหมาะสมกับความรู้ความสามารถของเด็ก โดยกระตุ้นให้เด็กคิดโดยใช้คำถามพร้อมทั้งนำสิ่งของที่อยู่ใกล้ตัวที่เด็กคุ้นเคยและรู้จักให้ นักเรียนดูพร้อมตอบคำถามและยกตัวอย่างวัสดุอุปกรณ์ 2 ชิ้นเปรียนเทียบกัน ให้เด็กได้แสดงความคิดเห็นขั้นตอนและให้เด็กได้ทำงานร่วมกันในการสำรวจตรวจสอบ และส่งเสริมให้เด็กอธิบายความคิดร่วมยอดหรือ ส่งเสริมให้เด็กนำสิ่งที่นักเรียนได้เรียนไปประยุกต์ใช้หรือขยายความรู้ และทักษะในสถานการณ์ใหม่ได้

วันพฤหัสบดีที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 16 วันที่ 25 กันยายน 2555


      อาจารย์แจกแนวการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย  อาจารย์แนะนำว่าในบล็อกควรมีอะไรบ้างเช่น บทความ งานวิจัย เป็นต้น  แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ แท็บเล็ต พร้อมบอกข้อดีและข้อจำกัดเป็นอย่างไร

วันอังคารที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 15 วันที่ 18 กันยายน 2555


          สวัสดีอาจารย์และเพื่อนๆทุกคน  บรรยากาศในห้องเรียนเย็นสบาย  อาจารย์ให้นำเสนองานที่ไปจัดกิจกรรมที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมว่าเป็นอย่างไรบ้าง

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 14 วันที่ 11 กันยายน 2555


   วันนี้ได้ทำกิจกรรมที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม จัดกิจกรรมเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ฐานของดิฉันเป็นฐานน้ำ ได้ทำฐาน "ขวดกินไข่"
อุปกรณ์
1.ขวดรูปชมพู  
2.ไข่ต้ม 1 ฟอง
3.ไม้ขีดไฟ
วิธีทำ
1.จุดไม้ขีดไฟแล้วหย่อนลงไปในขวดแก้ว แล้วรีบวางไว้บนปากแก้วหลังจากนั้นสังเกตการเปลี่ยนแปลง
2.ผลสังเกตพบว่าไข่โดนดูดลงไปในขวด
หลักการทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้
เมื่อเราใส่น้ำร้อนลงไปในขวดแก้วเป็นการทำให้โมเลกุลของอากาศในขวดแก้วมีความร้อนสูงขึ้น เมื่อขวดเริ่มเย็นลงโมเลกุลของอากาศในขวดก็เย็นลงด้วย โมเลกุลเหล่านี้จะค่อยๆเคลื่อนที่เข้ามาใกล้กันและพยายามดึงลูกโป่งเข้าไปในขวด ประกอบกับโมเลกุลของอากาศภายนอกขวดก็เป็นตัวช่วยผลักลูกโป่งลงไปในขวดด้วย จากหลักการนี้จึงมีผู้คิดค้นเครื่องมือต่างๆ เช่น vacuum pump ที่ใช้ในการทดลองทางวิทยาศาสตร์ หรือด้านอื่นๆได้ด้วย
รูปภาพกิจกรรม




บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 13 วันที่ 4 กันยายน 2555


นำบรอดที่ทำมาส่งคุณครู
- การทำนิทานทางวิทยาศาสตร์ สื่อ หลายมิติ
- การสอนเริ่มต้นที่ดีสำหรับเด็กปฐมวัยคือการเริ่มต้นต้องเป็นของจริงเพื่อให้เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5
แล้วค่อยเป็นสัณลักษณ์ทางภาษาทางคณิตศาสตร์
งานที่ได้รับมอบหมาย
อาทิตย์หน้าทดลองการทำกิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ที่แต่ละกลุ่มคิดขึ้นมา เลือกกิจกรรมเอา3ฐาน ย่อยออกมาอีกฐานละ3ฐานทั้งหมดเป็น9ฐาน
1.น้ำ
2.แสง
3.อากาศ

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 12 วันที่ 28 สิงหาคม 2555


    ไม่มีการเรียนการสอนคะ คุณครูให้ทำบรอดให้เสร็จคะ 

  

บันทึกการเข้าอบรมวันที่ 25 สิงหาคม 2555


การอบรมเชิงปฎิบัติการ "การสร้างสื่อประยุกต์"
ณ ห้องประชุมศูนย์ศึกษาพัฒนาครูคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

รูปภาพกิจกรรม